วันพุธที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554

ART STREET-1

ภาพบรรยากาศการเพ้นท์ถนนลวงตา (ART STREET) เพื่อรองรับการถ่ายภาพเพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในนิทรรศการ "อาชีวะสรางอาชีพเป็นราชพลี ถวายพระจักรีภูมิพล"
(นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติดังกล่าวเริ่มจัดวันที่ 1-6 ธันวาคม 2553)
ขั้นตอนการทำงานนั้น เริ่มตั้งแต่วันที่ 28-30 พฤจิกายน 2553 ณ ถนนเส้นเลียบคลองผดุงกรุงเกษม ข้างกระทรวงศึกษาธิการ กรุงเทพมหานคร โดยฝีมือของนักศึกษาแผนกศิลปกรรม สาขางานวิจิตรศิลป์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสระบุรี โดยการควบคุมการทำงานของ อ.ลาภ อำไพรัตน์ ครูประจำแผนกศิลปกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาสระบุรี


พื้นถนนขนาด 5 x 9 เมตร ชี้ตำแหน่งพื้นที่การเขียนโดยกระดาษกาวย่น

เตรียมงาน-ปรึกษา-วางแผน-กั้นทางสัญจรรถด้วยแผงเหล็ก โดยการอำนวยความสะดวกของตำรวจจราจรในท้องที่

รองพื้นภาพรวมด้วยสีฟ้าสดใส

อ.พูลรัตน์ พึ่งอารมย์ ครูผู้ควบคุมอีกคน (สุดยอดครูผู้นำนักศึกษาอาชีวะคว้ารางวัลที่ 1 ระดับโลกจากการแข่งขันแกะหิมะสองปีซ้อน-ปี 2010 และปี2011-ที่เมืองฮาร์บิ้นส์ ประเทศจีน)

อ.ลาภ อำไพรัตน์

อ.มรรัตน์ ศรีหิน หัวหน้าแผนกศิลปกรรม คอยอำนวยความสะดวก เข้าช่วยดูแลการทำงานด้วยตัวเอง
ทีมงานวิจิตรศิลป์

ทีมงานศิลปกรรม
อ.อมรรัตน์, อ.พูลรัตน์ ลงมือรองพื้นด้วยตัวเอง
ร่วมแรงแข็งขัน
ปรึกษา จุดยืน
อ.ลาภ วางแผน, เช็คมุมมอง ก่อนลงมือร่างภาพด้วยกล้องดิจิตอลพกพา (มุมระนาบ)
อ.พูลรัตน์ ช่วยเช็คมุมมองอีกแรง (มุมสูง)
ขยายกระดาษกาว-ขยายพื้นที่เขียน (จาก 5 x 9 เมตร เป็น 5 x 12 เมตร เพื่อความเหมาะสมของภาพที่ใช้เขียน)
คิด เขียน
วางแผน
ระบาย
ร่วมมือ
ร่วมแรง
ร้อนมาก
แต่ยังยิ้มได้
ควบคุมการทำงาน พร้อมคิดวางแผนเพิ่มเติมไปในตัว
อ.ลาภ เช็คการทำงานด้วยตัวเอง
นักศึกษาลงมือสร้างสรรค์ ถือเป็นการ (ฝึก) ทำงานโดยเรียนรู้จากสภาพจริงไปในตัว
ดำเนินการอย่างสงบ
แบ่งปัน-ถือเป็นการเรียนรู้นิสัยใจคอของเพื่อนร่วมงานจากการทำงานไปในตัว
กองทัพเดินด้วยท้อง
วันใหม่-วางแผนงานหนักอีกรอบ แต่น้องๆ นักศึกษาก็ไม่มีหวั่น ร้อนมาก
ใกล้ความจริง
วิเคราะห์
อบอ้าว
แต่มีความสุข
ใกล้ความจริงเข้ามเรื่อยๆ

ตกเย็น แต่ภายในใจเริ่มร้อน (เพราะกลัวเสร็จไม่ทันตามที่ตั้งเป้าไว้) ป้ายเขื่อน ใช้เสริมความสมบูรณ์ให้กับงานเขียนถนนลวงตา
ทีมงานวิจิตรศิลป์
ตกแต่งป้ายเขื่อน
รองผู้อำนวยการเข้ามาเยี่ยมชมการทำงาน
ทีมงานศิลปกรรม-วิจิตรศิลป์
อ.พูลรัตน์ กับทีมงานนักศึกษาผู้ร่วมลงมือสร้างสรรค์
ผลงานระยะแรก
เช็คเบื้องต้นด้วยการถ่ายภาพกันเอง
เฮฮา
สนุก
เสร็จสมบูรณ์
เช็คงานอีกรอบ (ด้วยการถ่ายภาพเล่นกันเอง) การลวงตานับเป็นผล

สนุกสนาน อ.ลาภ ร่วมเช็คผลงาน (ด้วย)
ผู้คนรอบข้างที่พบเห็นเริ่มงงๆ (ทำอะไรกัน?)
ช่วยด้วย แอ๊คชั่น
เหยียบย่าง
โดด
เบื้องหลังภาพลวงตา (จริงๆ)
คุณชินวรณ์ บุญยเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมถ่ายภาพลวงตา

ความลับของการถ่ายภาพลวงตาคือ หากคนถ่ายเยอะเกินไป ความลวงตาจะไม่ทำงาน (ดังภาพ) ผลงานสำเร็จ ทำเอาทีมงานวิจิตรศิลป์หายเหนื่อยเป็นปลิดทิ้ง

อ.เม้ง-พฤติพงษ์ วงศ์วรรณา แผนกวิจิตรศิลป์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี (หนึ่งในทีมงานนำนักศึกษาคว้ารางวัลชนะเลิศจากการแกะหิมะ ณ เมืองฮาร์บินส์) ร่วมถ่ายภาพลวงตา อ.วศมนตร์ ทรัพย์สินชัย ร่วมถ่ายภาพลวงตา-ผลงานของทีมงานนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย
ผลงานถนนลวงตาของวิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช (ควบคุมการทำงานโดย อ.ชัยยันตร์ จงจงประเสริฐ)
ผลงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย
ผลงานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี (ควบคุมการทำงานโดย อ.จุฑา ขำเปรมศรี)